GroupM

ปกติแต่ไม่ธรรมดา! จับตา 8 พฤติกรรมผู้บริโภคยุค New Normal

จับตา 8 พฤติกรรมผู้บริโภคยุค NEW NORMAL นับตั้งแต่ “Facebook” เป็นที่รู้จักของคนไทยเมื่อ 10 ปีก่อน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของยุค “โซเชียลมีเดีย” ที่สร้างอิทธิพลกับผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ พร้อมกับกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมใหม่ ๆ ตามมาในหลากหลายรูปแบบ  บางพฤติกรรมเพิ่งเกิดขึ้นมาได้เพียง 3-5 ปีที่ผ่านมา ซึ่งในยุคนั้นก็ถูกมองว่าเป็นพฤติกรรมที่ใหม่ และไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในเมืองไทย แต่วันนี้พฤติกรรมเหล่านั้นกลายเป็นเรื่องปกติหรือ New Normal กับผู้บริโภคไปแล้ว   แล้ว “New Normal” คืออะไร? มีประโยชน์อย่างไรต่อการสื่อสารของนักการตลาดบ้าง วรวิล สนเจริญ ผู้อำนวยการแผนกวางแผนกลยุทธ์ มีเดียคอม (ประเทศไทย) ได้เปิดเผยผลวิจัย เจาะลึกอิทธิพลโซเชียลมีเดีย ต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนไทยในปี 2561 ที่ทำขึ้นร่วมกับ คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภายในงาน “MediaCom Blink_live Thailand”   วรวิล บอกว่า เรารู้ว่าผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว การรักษาแบบเดิมไว้ยากมาก เพราะมีสิ่งใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ทำให้ “แบรนด์อะแวร์เนส  (Brand Awarenes)” เป็นที่รับรู้กับผู้บริโภค ไม่ใช่สิ่งเดียวที่ควรต้องทำอีกแล้ว ถึงหลายๆ แบรนด์ผู้บริโภครู้จัก มี Top Of Mind เกิดขึ้นอยู่แล้ว แต่ยุคนี้ต้องสร้าง“engagement” หรือการปฏิสัมพันธ์กับผู้บริโภค ให้มากกว่าแค่สร้างอะแวร์เนส   “เมื่อ 3-4 ปีก่อน โซลเชียลมีเดียมีหน้าที่ในการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สื่อของผู้บริโภค เช่น ใช้ LINE ติดต่อเรื่องงาน หรือหาช่องทางใหม่ ๆ ในการหาเงิน และดูละครย้อนหลังผ่าน YouTube เป็นต้น แต่ปัจจุบันไม่ได้มีเพียงพฤติกรรมที่เปลี่ยน หากวิธีคิดก็เปลี่ยนไปด้วย”   โดยสิ่งที่พบในงานวิจัยและวิธีคิดก็เปลี่ยนไป ได้กลั่นออกมาเป็นความจริง 5 ข้อดังนี้ 1. ความสำเร็จต้อง “เร็วขึ้น” เมื่อก่อนจะประสบความสำเร็จได้ต้อง “ใช้เวลา” ไต่เต้าจากตำแหน่งที่เล็กไปสู่ต่ำแหน่งที่ใหญ่กว่า แต่วันนี้ความสำเร็จ “ช้าไม่ได้แล้ว” ต้องเร็วเท่านั้น […]

Read More
GroupM

media think tank | เดิน ผ่าน อ่าน จบ

จากการเดินผ่านอ่านจบสู่ศาสตร์แห่งการสะกดนิ้ว   เราเป็นนักเรียนโฆษณายุคหลังปี 2540 นิดหน่อย เพื่อให้เห็นภาพ ตอนนั้นกรุงเทพเพิ่งจะมี BTS, สยามสแควร์ยังไม่มีเซนเตอร์พอยต์ (ที่ตอนนี้กลายเป็นดิจิตอลเกทเวย์ไปแล้ว), เรายังโทรส่งเพจกันจากตู้หยอดเหรียญสาธารณะ และถ้าจะใช้อินเตอร์เนทก็ต้องต่อโมเดมกันเป็นหลาย ๆ นาที   แน่นอนว่าตอนนั้นสื่อยังมีช่องทางจำกัดมาก คนไทยดูทีวีกันเป็นส่วนใหญ่ หนังสือพิมพ์ยังเข้าถึงได้ทุกบ้าน วงการนิตยสารกำลังเฟื่องฟู และยุคนั้นยังไม่มีคำว่า ไวรัล สิ่งที่ใกล้เคียงกับความ ไวรัล มากที่สุดตอนนั้นเราเรียกมันว่า ความเป็น Talk of the town และสิ่งที่เป็น Talk of the town อยู่เสมอ ๆ คือหนังโฆษณาขนาดยาวที่ออนแอร์ช่วงละครหลังข่าว โฆษณาตัวไหนยิ่งยาวก็ที่ยาวก็จะยิ่งได้รับการพูดถึงมาก เพราะนอกจากการเผยแพร่ในช่วงที่คนดูเยอะที่สุดของวันแล้ว มันก็มักจะมีเรื่องราวใหม่ ๆ ที่มักจะทำให้คนพูดถึงต่อ ๆ กันไปอยู่เสมอ   แต่การจะทำภาพยนตร์โฆษณาขนาดยาวอย่างนั้น เจ้าของสินค้าต้องใช้เงินมหาศาลทั้งจากการผลิตและการซื้อสื่อมันก็เลยไม่ได้มีบ่อย ๆ และเป็นโจทย์ที่นักโฆษณาทั้งหลายคอยลับฝีมือเอาไว้ให้พร้อมเสมอเมื่อโอกาสมาถึง   แม้ความใฝ่ฝันของการเป็นนักโฆษณาคือการทำหนังโฆษณาขนาดยาวให้คนพูดถึงกันไปทั้งเมือง การเป็นนักเรียนโฆษณายุคนั้น บทเรียนแรก ๆ ที่ได้เรียนกลับเป็นการทำโฆษณาจำพวกภาพนิ่ง เพราะด้วยข้อจำกัดของสื่อที่ไม่มีเสียง […]

Read More
GroupM

Samsung’s Fear by mInt

SHOWCASE BY mInt – CREATIVE SERVICES UNIT OF GROUPM THAILAND   The worst horror is to let fear block your possibilities. Samsung IT together with mInt – part of GroupM Thailand encourage everyone to breakthrough their own fears and execute what they think it’s beyond their capabilities.   With the collaboration with the producer of “Home Sweet Home”, a […]

Read More
GroupM

คุยกับ Mindshare ล้วงลึกเบื้องหลังแคมเปญล้ำ Pepsi กับเทคโนโลยี AR

คุยกับ Mindshare ล้วงลึกเบื้องหลังแคมเปญล้ำ Pepsi ที่ใช้เทคโนโลยี AR ในการทำแคมเปญใหญ่เป็นแบรนด์แรกของไทย [ EXCLUSIVE INTERVIEW WITH MARKETING OOPS! ]   ในโลกปัจจุบันที่เทคโนโลยีเข้ามาทีบทบาทกับแทบทุกบทบาทของชีวิตคน โดยเฉพาะการเสพสื่อ ที่ในยุคปัจจุบันเราสามารถพูดได้แล้วว่านี่คือยุคของ Mobile First ผู้คนใช้ชีวิตกับหน้าจอโทรศัพท์มือถือกันทั้งวัน และเสพ Content ต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ซึ่งหลาย ๆ คนแทบจะเป็นผู้ใช้งาน Mobile Only ไปแล้ว ดังนั้น พื้นที่สื่อบน Platform โทรศัพท์มือถือนั้น จึงเปรียบได้กับสมรภูมิรบของแบรนด์ ที่ต้องสร้าง Brand Awareness และ Brand Engagement กันในรูปแบบใหม่ ๆ ให้ผู้บริโภคได้รู้สึกสนุกและอยากมีส่วนร่วม Marketing Oops! ได้มีโอกาสพูดคุยกับ คุณอโนชา วัฒนาจารุกิจ (Partner, Client Leadership) และ […]

Read More
GroupM

19 วันกับบอลโลก | ผ่าภาพรวมการดูผ่านหน้าจอทีวี

19 วันกับบอลโลก ผ่าภาพรวมการดูผ่านหน้าจอทีวี สีสันของมหกรรมฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซียยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะกระแสการติดตามจากแฟนบอลชาวไทยในช่วงแข่งขันรอบ 16 ทีมสุดท้าย และนี่คืออีกตัวอย่างหนึ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าวาระกีฬาแห่งโลกยังสามารถนำผู้ชมให้กลับมายังสื่อโทรทัศน์ได้เสมอ   หากย้อนดูเทรนด์การดูการแข่งขันฟุตบอลโลกผ่านโทรทัศน์กลับไปเมื่อ 8 ปีที่แล้วจะพบว่ามีจำนวนผู้ชมคนไทยโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 26 ล้านคนต่อวัน ในขณะที่เมื่อ 4 ปีที่แล้วที่การแข่งขันถูกจัดขึ้นที่ประเทศบราซิลกลับมีผู้ชมลดลงมากว่าครึ่งหนึ่งในช่วงของก่อนรอบ 8 ทีมสุดท้าย ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยเรื่องของเวลาการแข่งขันในทวีปอเมริกาใต้ส่งผลให้การถ่ายทอดมายังประเทศไทยเป็นเวลาที่ดึกมากรวมถึงอีกปัจจัยคือการเข้ามาของสื่อออนไลน์ สำหรับปีนี้แม้อินเตอร์เน็ตและการติดตามผลแบบเรียลไทม์ผ่านแอพพลิเคชั่นจะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทำให้คนดูผ่านสื่อโทรทัศน์น้อยลงอีกแต่สุดท้ายยอดผู้ชมในช่วงก่อนเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายก็ดีดกลับขึ้นไปสูงเท่ากับเมื่อปี 2014   จากข้อมูลการวัดพฤติกรรมการชมโทรทัศน์โดยบริษัทเนลเส็นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายนถึง 2 กรกฏาคมพบว่ากลุ่มผู้ชมหลักที่ชมการแข่งขันฟุตบอลโลกจะอยู่ที่ภาคอีสาน แต่ในขณะเดียวกันในผู้ชมที่มาจากภาคใต้และกรุงเทพฯ จะเป็นกลุ่มที่เติบโตมากที่สุด หากเจาะลงไปที่ลักษณะของกลุ่มผู้ชมการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกในช่วง 8 ปีที่ผ่านมา พบว่ากลุ่มคนหนุ่มสาวที่มีอายุต่ำกว่า 24 ปีมีพฤติกรรมการรับมหกรรมกีฬานี้ผ่านสื่อโทรทัศน์ลดน้อยลง แต่ในทางกลับกันกลุ่มผู้ชมที่เป็นกลุ่มหลักที่ชมฟุตบอลโลกผ่านสื่อโทรทัศน์จะเป็นกลุ่มผู้ชมที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนนี้สอดคล้องกับผลวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคโดย กรุ๊ปเอ็ม (ประเทศไทย) ที่พบว่าความไม่ต่อเนื่องของสัญญานและขนาดจอมือถือที่มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับจอโทรทัศน์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้ชมโดยเฉพาะผู้ใหญ่รู้สึกสูญเสียอรรถรสและเลือกกลับไปชมการถ่ายทอดสดผ่านสื่อโทรทัศน์เช่นเดิม ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่าจำนวนผู้ชมผ่านจอโทรทัศน์มีแนวโน้มว่าจะคึกคักขึ้นในช่วงรอบ 8 ทีมสุดท้าย ซึ่งเราจะมาทำการสรุปหลังจบเกมการแข่งขันกันอีกทีนะครับ     แพน จรุงธนาภิบาล Associate Director, […]

Read More
Trends & Insight GroupM

19 วันกับบอลโลก – ผ่าภาพรวมการดูผ่านหน้าจอทีวีของคนไทย

สีสันของมหกรรมฟุตบอลโลก 2018 ที่รัสเซียยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกระแสการติดตามจากแฟนบอลชาวไทยในช่วงแข่งขันรอบ 16 ทีมสุดท้าย และนี่คืออีกตัวอย่างหนึ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าวาระกีฬาแห่งโลกยังสามารถนำผู้ชมให้กลับมายังสื่อโทรทัศน์ได้เสมอ หากย้อนดูเทรนด์การดูการแข่งขันฟุตบอลโลกผ่านโทรทัศน์กลับไปเมื่อ 8 ปีที่แล้วจะพบว่ามีจำนวนผู้ชมคนไทยโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 26 ล้านคนต่อวัน ในขณะที่เมื่อ 4 ปีที่แล้วที่การแข่งขันถูกจัดขึ้นที่ประเทศบราซิลกลับมีผู้ชมลดลงมากว่าครึ่งหนึ่งในช่วงของก่อนรอบ 8 ทีมสุดท้าย ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยเรื่องของเวลาการแข่งขันในทวีปอเมริกาใต้ส่งผลให้การถ่ายทอดมายังประเทศไทยเป็นเวลาที่ดึกมากรวมถึงอีกปัจจัยคือการเข้ามาของสื่อออนไลน์ สำหรับปีนี้แม้อินเทอร์เน็ตและการติดตามผลแบบเรียลไทม์ผ่านแอพพลิเคชั่นจะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทำให้คนดูผ่านสื่อโทรทัศน์น้อยลงอีกแต่สุดท้ายยอดผู้ชมในช่วงก่อนเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้ายก็ดีดกลับขึ้นไปสูงเท่ากับเมื่อปี 2014   จากข้อมูลการวัดพฤติกรรมการชมโทรทัศน์โดยบริษัทเนลเส็นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายนถึง 2 กรกฏาคมพบว่ากลุ่มผู้ชมหลักที่ชมการแข่งขันฟุตบอลโลกจะอยู่ที่ภาคอีสาน แต่ในขณะเดียวกันในผู้ชมที่มาจากภาคใต้และกรุงเทพฯ จะเป็นกลุ่มที่เติบโตมากที่สุด หากเจาะลงไปที่ลักษณะของกลุ่มผู้ชมการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกในช่วง 8 ปีที่ผ่านมา พบว่ากลุ่มคนหนุ่มสาวที่มีอายุต่ำกว่า 24 ปีมีพฤติกรรมการรับมหกรรมกีฬานี้ผ่านสื่อโทรทัศน์ลดน้อยลง แต่ในทางกลับกันกลุ่มผู้ชมที่เป็นกลุ่มหลักที่ชมฟุตบอลโลกผ่านสื่อโทรทัศน์จะเป็นกลุ่มผู้ชมที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนนี้สอดคล้องกับผลวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคโดย กรุ๊ปเอ็ม (ประเทศไทย) ที่พบว่าความไม่ต่อเนื่องของสัญญานและขนาดจอมือถือที่มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับจอโทรทัศน์มีส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้ชมโดยเฉพาะผู้ใหญ่รู้สึกสูญเสียอรรถรสและเลือกกลับไปชมการถ่ายทอดสดผ่านสื่อโทรทัศน์เช่นเดิม ทั้งนี้มีการคาดการณ์ว่าจำนวนผู้ชมผ่านจอโทรทัศน์มีแนวโน้มว่าจะคึกคักขึ้นในช่วงรอบ 8 ทีมสุดท้าย ซึ่งเราจะมาทำการสรุปหลังจบเกมการแข่งขันกันอีกทีนะครับ CONTRIBUTOR แพน จรุงธนาภิบาล Associate Director, Marketing & Development GroupM […]

Read More
GroupM

มีเดียคอม ผ่า 4 เทรนด์ Media & Content ที่น่าจับตามองจาก Cannes Lions 2018

มีเดียคอม ผ่า 4 เทรนด์ MEDIA & CONTENT ที่น่าจับตามองจาก CANNES LIONS 2018 มีเดียคอม เน็ทเวิร์คตัวแทนบริหารและจัดซื้อสื่อระดับโลกในเครือ กรุ๊ปเอ็ม โดยคุณวรวิล สนเจริญ ผู้อำนวยการแผนกวางแผนกลยุทธ์ประจำประเทศไทย จัดทำการวิเคราะห์เทรนด์ของมีเดียและคอนเทนต์จากงานคานส์ ไลออนส์ 2018 ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นเวทีประกวดผลงานสร้างสรรค์และโฆษณาระดับสากลที่เพิ่งผ่านมาสดๆ ร้อนๆ   สำหรับปีนี้ผลงานสร้างสรรค์ที่โดดเด่นในสายมีเดียและคอนเทนต์ คุณวรวิลได้สรุปออกมาเป็น 4  กระแสหลักดังนี้ 1. Creativity VS Data ความโดดเด่นของแคมเปญประเภท Data Led คือการใช้ข้อมูลผู้บริโภค (Consumer Data) มาประยุกต์ใช้กับข้อมูลแบบเรียลไทม์ (Real-time Data) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างสรรค์คอนเทนต์ให้กลายเป็นแบบเฉพาะเจาะจงและยังเพิ่มประสิทธิภาพของแคมเปญให้ดียิ่งขึ้น   ตัวอย่างแคมเปญที่เข้าข่าย Creativity VS Data ก็คือแคมเปญจาก Tesco ประเทศอังกฤษ Tesco’s Food Love Stories ที่ได้รับรางวัล Grand Prix ในสาขา Media Planning ซึ่งได้นำข้อมูลผู้บริโภคอย่างเช่น กลุ่มผู้ชม […]

Read More
Trends & Insight EssenceMediacom

มีเดียคอมผ่า 4 เทรนด์ Media & Content ที่น่าจับตามองจาก Cannes Lions 2018

มีเดียคอม เน็ทเวิร์คตัวแทนบริหารและจัดซื้อสื่อระดับโลกในเครือ กรุ๊ปเอ็ม โดยคุณวรวิล สนเจริญ ผู้อำนวยการแผนกวางแผนกลยุทธ์ประจำประเทศไทย จัดทำการวิเคราะห์เทรนด์ของมีเดียและคอนเทนต์จากงานคานส์ ไลออนส์ 2018 ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นเวทีประกวดผลงานสร้างสรรค์และโฆษณาระดับสากลที่เพิ่งผ่านมาสด ๆ ร้อน ๆ สำหรับปีนี้ผลงานสร้างสรรค์ที่โดดเด่นในสายมีเดียและคอนเทนต์ คุณวรวิลได้สรุปออกมาเป็น 4  กระแสหลัก ดังนี้ CREATIVITY VS DATA ความโดดเด่นของแคมเปญประเภท Data Led คือการใช้ข้อมูลผู้บริโภค (Consumer Data) มาประยุกต์ใช้กับข้อมูลแบบเรียลไทม์ (Real-time Data) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างสรรค์คอนเทนต์ให้กลายเป็นแบบเฉพาะเจาะจงและยังเพิ่มประสิทธิภาพของแคมเปญให้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างแคมเปญที่เข้าข่าย Creativity VS Data ก็คือแคมเปญจาก Tesco ประเทศอังกฤษ Tesco’s Food Love Stories ที่ได้รับรางวัล Grand Prix ในสาขา Media Planning ซึ่งได้นำข้อมูลผู้บริโภคอย่างเช่น กลุ่มผู้ชม (Audience), ประเภทของอาหาร, มื้ออาหาร ทั้งจากตัวแบรนด์เองและจากพาร์ทเนอร์อย่าง Facebook และ Google มาทำการระบุและแบ่งกลุ่มผู้บริโภคใหม่และทำการสร้างสรรค์ Dynamic Creative Content […]

Read More
GroupM

จับตา IGTV – โอกาสที่ไม่ควรพลาดสำหรับนักการตลาด

จับตา IGTV โอกาสที่นักการตลาดไม่ควรพลาด เมื่อ Instagram ออก IGTV เป็นที่ทราบกันดีว่าตลอดเวลาที่ผ่านมาตลาดคอนเท้นท์เป็นตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด โดยล่าสุด Instagram ได้ประกาศเปิดตัว IGTV ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนโดยผู้ใช้สามารถอัพโหลดวิดิโอคอนเท้นท์ในรูปแบบที่ยาวมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่ง IGTV ถูกเปิดตัวออกมาด้วยอินไซด์ของกลุ่มผู้ชมอายุน้อยที่ไม่ได้ดูทีวีด้วยการพยายามข้ามขีดจำกัดของวิดีโอรูปแบบเดิมๆ ที่ถูกบังคับให้ทำแบบแนวนอนเท่านั้น   การเคลื่อนไหวจากฝั่ง Facebook/Instagram ในครั้งนี้เกิดขึ้นจากพยายามที่จะนำโปรแกรมมิ่งแพลทฟอร์มเข้ามาใช้ ซึ่งในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งของ Facebook Watch ที่ความสามารถในการใช้งานถูกจำกัดอยู่แค่ในฝั่งสหรัฐฯ โดยหลังเปิดตัวผู้ใช้ Instragram สามารถเข้าใช้งาน IGTV ได้พร้อมกันทั่วโลก   คอนเท้นท์บน IGTV ในขณะนี้จะเป็นคอนเท้นท์จากการอัพโหลดจากผู้ใช้ทั่วไปและผู้มีชื่อเสียงบางส่วนเท่านั้น ทั้งนี้ Facebook/Instagram มีแผนที่จะนำรายการโทรทัศน์ที่มีชื่อเสียงมารีรันใน IGTV ด้วยเช่นกัน ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จะทำให้ IGTV กลายเป็นคู่แข่งที่น่าจับตามองของบริการวิดีโอคอนเทนท์ออนไลน์ในอนาคต โดยที่ IGTV ยังสามารถสร้างโอกาสในการร่วมมือระหว่างแบรนด์และผู้ผลิตคอนเท้นท์เพื่อการเข้าถึงฐานผู้ชมกลุ่มใหม่   แล้วมันมีผลอย่างไร คอนเท้นท์ที่เรากำลังพูดถึงกันอยู่คือคอนเท้นท์ที่มาจาก Influencer และเป็นวิดีโอแบบแนวตั้ง ซึ่งเป็นจุดต่างที่สำคัญของ IGTV ที่จะใช้ต่อสู้กับ YouTube และ […]

Read More
Trends & Insight GroupM

จับตา IGTV – โอกาสที่นักการตลาดไม่ควรพลาด

เมื่อ INSTAGRAM ออก IGTV เป็นที่ทราบกันดีว่าตลอดเวลาที่ผ่านมาตลาดคอนเท้นท์เป็นตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือด โดยล่าสุด Instagram ได้ประกาศเปิดตัว IGTV ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนโดยผู้ใช้สามารถอัพโหลดวิดิโอคอนเท้นท์ในรูปแบบที่ยาวมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่ง IGTV ถูกเปิดตัวออกมาด้วยอินไซด์ของกลุ่มผู้ชมอายุน้อยที่ไม่ได้ดูทีวีด้วยการพยายามข้ามขีดจำกัดของวิดีโอรูปแบบเดิมๆ ที่ถูกบังคับให้ทำแบบแนวนอนเท่านั้น การเคลื่อนไหวจากฝั่ง Facebook/Instagram ในครั้งนี้เกิดขึ้นจากพยายามที่จะนำโปรแกรมมิ่งแพลทฟอร์มเข้ามาใช้ ซึ่งในครั้งนี้จะไม่เหมือนครั้งของ Facebook Watch ที่ความสามารถในการใช้งานถูกจำกัดอยู่แค่ในฝั่งสหรัฐฯ โดยหลังเปิดตัวผู้ใช้ Instragram สามารถเข้าใช้งาน IGTV ได้พร้อมกันทั่วโลก คอนเท้นท์บน IGTV ในขณะนี้จะเป็นคอนเท้นท์จากการอัพโหลดจากผู้ใช้ทั่วไปและผู้มีชื่อเสียงบางส่วนเท่านั้น ทั้งนี้ Facebook/Instagram มีแผนที่จะนำรายการโทรทัศน์ที่มีชื่อเสียงมารีรันใน IGTV ด้วยเช่นกัน ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จะทำให้ IGTV กลายเป็นคู่แข่งที่น่าจับตามองของบริการวิดีโอคอนเทนท์ออนไลน์ในอนาคต โดยที่ IGTV ยังสามารถสร้างโอกาสในการร่วมมือระหว่างแบรนด์และผู้ผลิตคอนเท้นท์เพื่อการเข้าถึงฐานผู้ชมกลุ่มใหม่ แล้วมันมีผลอย่างไร คอนเท้นท์ที่เรากำลังพูดถึงกันอยู่คือคอนเท้นท์ที่มาจาก Influencer และเป็นวิดีโอแบบแนวตั้ง ซึ่งเป็นจุดต่างที่สำคัญของ IGTV ที่จะใช้ต่อสู้กับ YouTube และ Snapchat การเกิดขึ้นของ IGTV มีความเป็นไปได้ที่จะมีผลกระทบกับ YouTube ในเรื่องของผู้ชม […]

Read More